ที่เที่ยวกรุงเทพ พิพิธภัณฑ์ มิวเซียมสยาม แลนด์มาร์กแห่งใหม่

มิวเซียมสยาม x สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสนามไชย แลนด์มาร์กแห่งใหม่ของไทย

Home / ข่าวท่องเที่ยว / มิวเซียมสยาม x สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสนามไชย แลนด์มาร์กแห่งใหม่ของไทย

มิวเซียมสยาม ร่วมกับ รฟม. และ ททท.
เตรียมเปิด “แลนด์มาร์ก” แห่งใหม่ของประเทศไทย

มิวเซียมสยาม (Museum Siam) ร่วมกับ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) เตรียมเปิด “แลนด์มาร์ก” แห่งใหม่ของประเทศไทย “มิวเซียมสยาม x สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสนามไชย” เป็นหนึ่งในเส้นทางรถไฟฟ้าใต้ดินสายสีน้ำเงิน อยู่ในส่วนต่อขยาย บางซื่อ-ท่าพระ และ หัวลำโพง-บางแค ระยะทาง 27 กิโลเมตร และเป็นสถานีเดียวที่มีตัวสถานีอยู่ ณ ใจกลางพื้นที่ชั้นในของเกาะกรุงรัตนโกสินทร์ ภายในขอบเขตระหว่างแม่น้ำเจ้าพระยา และคูเมืองเดิม

มิวเซียมสยาม x สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสนามไชย

มิวเซียมสยาม x สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสนามไชย

สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสนามไชย มีความยาวตามแนวถนนสนามไชยประมาณ 270 เมตร มีความลึกประมาณ 32 เมตร ทางออกของสถานีเชื่อมต่อยัง มิวเซียมสยาม (Museum Siam) ซึ่งเป็น First Stop จุดแรกที่นักท่องเที่ยวทั่วโลกต้องเห็น ใช้เป็นจุดเริ่มต้น ท่องเที่ยวเชิงแหล่งเรียนรู้ ประวัติศาตร์และวัฒนธรรม ในบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์แห่งนี้

และความพิเศษของ สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสนามไชย จะไม่เหมือนที่ใดๆ ออกแบบโดย รศ.ดร. ภิญโญ สุวรรณคีรี ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ภายในออกแบบเป็นรูปแบบสถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ที่ให้ความรู้สึกเหมือนเป็นท้องพระโรงในสมัยรัตนโกสินทร์

และความพิเศษของ สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสนามไชย จะไม่เหมือนที่ใดๆ ออกแบบโดย รศ.ดร. ภิญโญ สุวรรณคีรี ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ภายในออกแบบเป็นรูปแบบสถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ที่ให้ความรู้สึกเหมือนเป็นท้องพระโรงในสมัยรัตนโกสินทร์ มีการประดับด้วยเสาสดุมภ์ ที่ตั้งตระหง่านอยู่ระหว่างทางเดิน ลงลายกระเบื้องเป็นดอกพิกุล ปลายเสาประดับด้วยบัวจงกลทองคำเปลว พื้นและผนังจำลองมาจากกำแพงเมือง ประดับด้วยเสาเสมาของพระบรมมหาราชวัง เพดานเป็นลายฉลุแบบดาวล้อมเดือนปิดทองคำเปลว เพื่อสื่อให้เห็นถึงความทรงคุณค่า และเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย นอกจากนี้ ทางขึ้น-ลง สถานี จะสังเกตได้ว่า ไม่มีหลังคา เพื่อไม่ให้บดบังทัศนียภาพบริเวณนี้

และความพิเศษของ สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสนามไชย จะไม่เหมือนที่ใดๆ ออกแบบโดย รศ.ดร. ภิญโญ สุวรรณคีรี ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ภายในออกแบบเป็นรูปแบบสถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ที่ให้ความรู้สึกเหมือนเป็นท้องพระโรงในสมัยรัตนโกสินทร์ มีการประดับด้วยเสาสดุมภ์ ที่ตั้งตระหง่านอยู่ระหว่างทางเดิน ลงลายกระเบื้องเป็นดอกพิกุล ปลายเสาประดับด้วยบัวจงกลทองคำเปลว พื้นและผนังจำลองมาจากกำแพงเมือง ประดับด้วยเสาเสมาของพระบรมมหาราชวัง เพดานเป็นลายฉลุแบบดาวล้อมเดือนปิดทองคำเปลว เพื่อสื่อให้เห็นถึงความทรงคุณค่า และเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย นอกจากนี้ ทางขึ้น-ลง สถานี จะสังเกตได้ว่า ไม่มีหลังคา เพื่อไม่ให้บดบังทัศนียภาพบริเวณนี้

มีการประดับด้วยเสาสดุมภ์ ที่ตั้งตระหง่านอยู่ระหว่างทางเดิน ลงลายกระเบื้องเป็นดอกพิกุล ปลายเสาประดับด้วยบัวจงกลทองคำเปลว พื้นและผนังจำลองมาจากกำแพงเมือง ประดับด้วยเสาเสมาของพระบรมมหาราชวัง เพดานเป็นลายฉลุแบบดาวล้อมเดือนปิดทองคำเปลว เพื่อสื่อให้เห็นถึงความทรงคุณค่า และเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย นอกจากนี้ ทางขึ้น-ลง สถานี จะสังเกตได้ว่า ไม่มีหลังคา เพื่อไม่ให้บดบังทัศนียภาพบริเวณนี้

มิวเซียมสยาม x สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสนามไชย

 

มิวเซียมสยาม x สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสนามไชย

และความพิเศษของ สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสนามไชย จะไม่เหมือนที่ใดๆ ออกแบบโดย รศ.ดร. ภิญโญ สุวรรณคีรี ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ภายในออกแบบเป็นรูปแบบสถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ที่ให้ความรู้สึกเหมือนเป็นท้องพระโรงในสมัยรัตนโกสินทร์ มีการประดับด้วยเสาสดุมภ์ ที่ตั้งตระหง่านอยู่ระหว่างทางเดิน ลงลายกระเบื้องเป็นดอกพิกุล ปลายเสาประดับด้วยบัวจงกลทองคำเปลว พื้นและผนังจำลองมาจากกำแพงเมือง ประดับด้วยเสาเสมาของพระบรมมหาราชวัง เพดานเป็นลายฉลุแบบดาวล้อมเดือนปิดทองคำเปลว เพื่อสื่อให้เห็นถึงความทรงคุณค่า และเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย นอกจากนี้ ทางขึ้น-ลง สถานี จะสังเกตได้ว่า ไม่มีหลังคา เพื่อไม่ให้บดบังทัศนียภาพบริเวณนี้

มิวเซียมสยาม x สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสนามไชย

นายราเมศ พรหมเย็น ผู้อำนวยการมิวเซียมสยาม
นายราเมศ พรหมเย็น ผู้อำนวยการมิวเซียมสยาม

นายราเมศ พรหมเย็น ผู้อำนวยการมิวเซียมสยาม กล่าวว่า ในปี 2560 มิวเซียมสยาม เดินหน้ากระตุ้นการท่องเที่ยว พิพิธภัณฑ์ และแหล่งเรียนรู้ของไทย ภายใต้แคมเปญ “Muse All Year : ฉลาดคิดพิพิธเพลิน” ที่จะยกขบวนกิจกรรมสุดสนุกผสานสาระ มาเสิร์ฟให้กับประชาชนตลอดทั้งปี ทั้งในพื้น้ที่กรุงเทพฯ และภูมิภาค

อาทิ นิทรรศการหมุนเวียนชุด “ต้มยำกุ้ง” ที่เตรียมเปิดในเดือนมีนาคมนี้ , นิทรรศการหมุนเวียนชุด “สิ่งประดิษฐ์ไทย DIY” ที่เตรียมเปิดในเดือนพฤษภาคม , ตลาดนัดอินดี้ “น๊อยซ์มาร์เก็ต” ในเดือนมิถุนายน, งานเทศกาลเที่ยวพิพิธภัณฑ์กลางคืน “ไนท์ แอท เดอะ มิวเซียม” ในเดือนธันวาคม เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมภายนอกมิวเซียมสยาม เช่น “มิวเซียมติดล้อ” พิพิธภัณฑ์ในตู้คอนเทนเนอร์ที่เคลื่อนที่ไปจัดแสดงทั่วไทย, “มิวส์คาราวาน” ขบวนรถเรียนรู้ที่เข้าไปเสิร์ฟสาระ ความสนุกให้กับเยาวชนถึงในโรงเรียน, การเปิดตัว “บัตรมิวสพาส” เป็นต้น

นายฉัททันต์ กุญชร ณ อยุธยา รองผู้ว่าการด้านสื่อสารการตลาด การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)
นายฉัททันต์ กุญชร ณ อยุธยา รองผู้ว่าการด้านสื่อสารการตลาด ททท. และ นายกิตติกร ตันเปาว์ ผู้อำนวยการฝ่ายวิศวกรรมและสถาปัตย์ รฟม. ร่วมพูดคุย

นายฉัททันต์ กุญชร ณ อยุธยา รองผู้ว่าการด้านสื่อสารการตลาด การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) กล่าวว่า ในฐานะหน่วยงานที่มีบทบาทด้านการส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยว ได้เล็งเห็นถึงศักยภาพของพิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้ของไทยที่มีอยู่หลากหลาย จึงมุ่งกระตุ้นและสร้างกระแสให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงแหล่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งถือเป็นหนึ่งในนโยบายที่รัฐบาลให้ความสำคัญ

โดยในปี 2017 ททท. ได้ร่วมผลักดันให้มิวเซียมสยาม เป็นแลนด์มาร์กแห่งให้ในประเทศไทย ในฐานะ “ศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงแหล่งเรียนรู้ และวัฒนธรรมแห่งเกาะรัตนโกสินทร์” เพื่อสร้างจุดมุ่งหมายปลายทางในการท่องเที่ยวที่โดดเด่นและเป็นที่น่าจดจำ ที่จะช่วยส่งเสริมให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงแหล่งเรียนรู้ ในลักษณะเครือข่ายสถานที่ท่องเที่ยวบนเกาะรัตนโกสินทร์

%e0%b8%a1%e0%b8%b4%e0%b8%a7%e0%b9%80%e0%b8%8b%e0%b8%b5%e0%b8%a2%e0%b8%a1%e0%b8%aa%e0%b8%a2%e0%b8%b2%e0%b8%a1dsc05505

นายกิตติกร ตันเปาว์ ผู้อำนวยการฝ่ายวิศวกรรมและสถาปัตย์ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) กล่าวว่า สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสนามไชย จะช่วยให้การเดินทางของประชาชนและนักท่องเที่ยวสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น และสามารถเข้าถึงพิพิธภัณฑ์ และแหล่งท่องเที่ยวบนเกาะรตนโกสินทร์ได้อย่างรวดเร็วและตรงจุด

โดยเมื่อขึ้นจากสถานีดังกล่าว ก็จะได้พบกับ มิวเซียมสยาม ซึ่งถือเป็นจุดท่องเที่ยวแรกที่ทุกคนจะต้องเข้าแวะชมก่อนเดินทางไปยังแหล่งท่องเที่ยวบริเวณใกล้เคียง ไม่ว่าจะเป็น พระบรมมหาราชวัง, วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว), ป้อมพระสุเมรุ, สวนสันติชัยปราการ, วัดโพธิ์, ปากคลองตลาด, นิทรรศการรัตนโกสินทร์ รวมไปถึง พิพิธภัณฑ์และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอีกมากมาย

ทางขึ้น-ลง รถไฟฟ้าใต้ดิน สถานีสนามไชย
รถไฟฟ้าใต้ดิน สถานีสนามไชย
มิวเซียมสยาม
มิวเซียมสยาม
มิวเซียมสยาม
มิวเซียมสยาม
มิวเซียมสยาม
มิวเซียมสยาม

มิวเซียมสยาม